ข่าวและกิจกรรม

บทความ

  • ไขปริศนากับการหาหลักฐานเชิงประจักษ์

    การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์โดยให้นักเรียนทำการทดลองนั้น มีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ต้องการ ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นนำข้อมูล หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้ ซึ่งในที่นี้คือผลการทดลอง มาสร้างองค์ความรู้หรือคำอธิบายด้วยตนเอง โดยมีครูเป็น ผู้ชี้แนะ กระบวนการเหล่านี้สอดคล้องกับลักษณะสำคัญบางประการของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์นำไปใช้ในการค้นคว้า วิจัย และหาองค์ความรู้ใหม่ Read More.

หนังสือแนะนำ

  • บทที่ 8 แมกนีเซียม

        โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด (ดาวน์โหลด ครั้ง)

กฎของบอยล์…ในชีวิตจริง

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, กลุ่มเป้าหมาย, ครู, นักเรียน, บทความ, บทความวิชาการ, บุคคลทั่วไป, มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6, สาระน่ารู้

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า ทฤษฎี กฎ หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์หลาย ๆ อย่าง ได้มาจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในความพยายามที่จะอธิบายปรากฏการณ์ในธรรมชาติ รวมทั้งนำความรู้ที่ค้นพบเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง กฎของบอยล์ (Boyle’s law) เป็นกฎหนึ่งที่ได้มาจากการศึกษาของรอเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle) Read More.

สะเต็มศึกษากับกลิ่นหอมที่เย้ายวนใจ

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ ครู, นักเรียน, บทความ, บุคคลทั่วไป, สาระน่ารู้

ผลไม้หรือดอกไม่หลายชนิดที่พบในธรรมชาติ เช่น กล้วยหอม แอปเปิ้ล ดอกมะลิ ฯลฯ ล้วนมีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว กลิ่นหอมเหล่านี้เกิดจากเอสเทอร์ (Ester) ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ประเภทหนึ่ง ที่มีกลิ่นพิเศษเฉพาะตัวจึงนิยมนำมาสกัดทำเป็นน้ำหอมและเป็นสารปรุงแต่งกลิ่นอาหาร เอสเทอร์มีสูตรทั่วไป คือ RCOOR' 

กิจกรรมสะเต็มสเลอปี้

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ ครู, บทความ, บุคคลทั่วไป, สาระน่ารู้

ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมงานประชุมวิชาการระดับชาติในงานวิชาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ในโรงเรียน ครั้งที่ 22 (วทร.22) ระหว่างวันที่ 5 – 7 มีนาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา Read More.

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษากับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ บทความ, สาระน่ารู้

ตามที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ส่วนหนึ่งมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาทักษะการคิดระดับสูงที่เรียกว่าทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเตรียมพร้อมในการแก้ปัญหาใหม่ของโลกอนาคต ทุกคนควรรู้ว่าจะนำความรู้และทักษะไปใช้อย่างไร ดังนั้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการเสริมสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยแนวทางและวิธีการใหม่ ๆ ให้ตอบสนองทักษะเหล่านั้นจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด