ข่าวและกิจกรรม

บทความ

  • ไขปริศนากับการหาหลักฐานเชิงประจักษ์

    การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์โดยให้นักเรียนทำการทดลองนั้น มีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ต้องการ ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นนำข้อมูล หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้ ซึ่งในที่นี้คือผลการทดลอง มาสร้างองค์ความรู้หรือคำอธิบายด้วยตนเอง โดยมีครูเป็น ผู้ชี้แนะ กระบวนการเหล่านี้สอดคล้องกับลักษณะสำคัญบางประการของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์นำไปใช้ในการค้นคว้า วิจัย และหาองค์ความรู้ใหม่ Read More.

    Print Friendly, PDF & Email

หนังสือแนะนำ

  • บทที่ 8 แมกนีเซียม

        โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด (ดาวน์โหลด ครั้ง)

    Print Friendly, PDF & Email

ปริศนาทาร์เซีย : Tarsia Puzzle

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, กลุ่มเป้าหมาย, กิจกรรมเสริมการเรียนรู้, ครู, นักเรียน, บทความ, บทความวิชาการ, บุคคลทั่วไป, สาระน่ารู้, สื่อ, สื่อดิจิทัล, เอกสารเสริมการเรียนรู้, แหล่งเรียนรู้

ปัจจุบันสื่อการสอนที่ครูส่วนใหญ่ใช้เพื่อเพิ่มความรู้และความเข้าใจในบทเรียน คงหนีไม่พ้นการให้
นักเรียนทำแบบฝึกหัด ซึ่งข้อดีของการทำแบบฝึกหัดคือ นักเรียนได้มีโอกาสทบทวนเนื้อหา แบบฝึกหัดส่วนใหญ่จะปรากฏที่ท้ายหัวข้อหรือท้ายบทของหนังสือเรียน นักเรียนมีหน้าที่นำความรู้มาใช้แก้ปัญหา และเขียนคำตอบลงบนกระดาษ แล้วนำส่งครู ในบางครั้งการทำแบบฝึกหัดอาจเป็นกิจกรรมที่ไม่น่าสนใจ ดังนั้น จะดีกว่าหรือไม่ถ้าครูมีกิจกรรมที่ผสมผสานการต่อจิ๊กซอว์หรือโดมิโน ให้นักเรียนได้ทบทวนความรู้อย่างสนุกสนาน ได้ทำกิจกรรมร่วมกันกับเพื่อน และที่สำคัญคือครูสามารถสร้างสื่อการสอนนี้ได้ด้วยตนเอง

โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด 

Print Friendly, PDF & Email