ข่าวและกิจกรรม

บทความ

  • ไขปริศนากับการหาหลักฐานเชิงประจักษ์

    การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์โดยให้นักเรียนทำการทดลองนั้น มีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ต้องการ ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นนำข้อมูล หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้ ซึ่งในที่นี้คือผลการทดลอง มาสร้างองค์ความรู้หรือคำอธิบายด้วยตนเอง โดยมีครูเป็น ผู้ชี้แนะ กระบวนการเหล่านี้สอดคล้องกับลักษณะสำคัญบางประการของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์นำไปใช้ในการค้นคว้า วิจัย และหาองค์ความรู้ใหม่ Read More.

    Print Friendly, PDF & Email

หนังสือแนะนำ

  • บทที่ 8 แมกนีเซียม

        โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด (ดาวน์โหลด ครั้ง)

    Print Friendly, PDF & Email

สาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ หลักสูตร, เคมี, แผนการสอน

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ | บทที่ 2 พันธะเคมี | บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
1.1 แบบจำลองอะตอม
     1.1.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
     1.1.2 แบบจำลองอะตอมของทอมสัน
     1.1.3 แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
            1.1.3.1 อนุภาคมูลฐานของอะตอม
            1.1.3.2 เลขอะตอม เลขมวล และไอโซโทป
     1.1.4 แบบจำลองอะตอมของโบร์
            1.1.4.1 คลื่นและสมบัติของคลื่นแสง
            1.1.4.2 สเปกตรัม
            1.1.4.3 สเปกตรัมของธาตุและการแปลความหมาย
     1.1.5 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
     1.1.6 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน 
1.2 ตารางธาตุ
     1.2.1 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
     1.2.2 แบบจำลองอะตอมของดอลตัน
            1.2.2.1 ขนาดอะตอม 
            1.2.2.2 รัศมีไอออน 
            1.2.2.3 พลังงานไอออไนเซชัน 
            1.2.2.4 อิเล็กโทรเนกาติวิตี
            1.2.2.5 สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน 
            1.2.2.6 จุดหลอมเหลวและจุดเดือด 
            1.2.2.7 เลขออกซิเดชัน


บทที่ 2 พันธะเคมี
2.1 พันธะไอออนิก
     2.1.1 การเกิดพันธะไอออนิก
     2.1.2 โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก
     2.1.3 การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก
     2.1.4 พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
     2.1.5 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
     2.1.6 ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
2.2 พันธะโคเวลนต์
     2.2.1 การเกิดพันธะโคเวเลนต์
     2.2.2 ชนิดของพันธะโคเวเลนต์
     2.2.3 โมเลกุลที่ไม่เป็นไปตามกฎออกเตต
     2.2.4 การเขียนสูตรและเรียกชื่อสารโคเวเลนต์
     2.2.5 ความยาวพันธะและพลังงานพันธะ
     2.2.6 แนวคิดเกี่ยวกับเรโซแนนซ์
     2.2.7 รูปร่างโมเลกุล
     2.2.8 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
     2.2.9 แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์
     2.2.10 สารโครงผลึกร่างตาข่าย
2.3 พันธะโลหะ
     2.3.1 สมบัติของโลหะ


บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
3.1 สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ
3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของธาตุตามหมู่
     3.2.1 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ IA และ IIA
     3.2.2 ปฏิกิริยาของธาตุหมู่ VIIA
3.3 ตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ
3.4 ธาตุแทรนซิชัน
     3.4.1 สมบัติของธาตุแทรนซิชัน
     3.4.2 สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน
     3.4.3 สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน
3.5 ธาตุกึ่งโลหะ
3.6 ธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.1 การเกิดกัมมันตรังสี
     3.6.2 การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.3 ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
     3.6.4 ปฏิกิริยานิวเคลียร์
     3.6.5 การตรวจสอบสารกัมมันตรังสีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารกัมมันตรังสี
3.7 การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
3.8 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
     3.8.1 ธาตุอะลูมิเนียม
     3.8.2 ธาตุแคลเซียม
     3.8.3 ธาตุทองแดง
     3.8.4 ธาตุโครเมียม
     3.8.5 ธาตุเหล็ก
     3.8.6 ธาตุไอโอดีน
     3.8.7 ธาตุไนโตรเจน
     3.8.8 ธาตุออกซิเจน
     3.8.9 ธาตุฟอสฟอรัส
     3.8.10 ธาตุซิลิคอน
     3.8.11 ธาตุสังกะสี
     3.8.12 ธาตุเรเดียม

 

Print Friendly, PDF & Email