ข่าวและกิจกรรม

บทความ

  • ไขปริศนากับการหาหลักฐานเชิงประจักษ์

    การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์โดยให้นักเรียนทำการทดลองนั้น มีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ต้องการ ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นนำข้อมูล หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้ ซึ่งในที่นี้คือผลการทดลอง มาสร้างองค์ความรู้หรือคำอธิบายด้วยตนเอง โดยมีครูเป็น ผู้ชี้แนะ กระบวนการเหล่านี้สอดคล้องกับลักษณะสำคัญบางประการของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์นำไปใช้ในการค้นคว้า วิจัย และหาองค์ความรู้ใหม่ Read More.

หนังสือแนะนำ

  • บทที่ 8 แมกนีเซียม

        โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด (ดาวน์โหลด ครั้ง)

สะเต็มศึกษากับการคิดขึ้นสูง

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ ครู, บทความ, สาระน่ารู้

หลักสูตรหรือการจัดการเรียนรู้ที่มีการบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน หรือที่เรียกว่า "สะเต็มศึกษา (STEM Education)" ได้เข้ามามีบทบาทในการเรียนการสอนวิทยศาสตร์และคณิตศาสตร์ในประเทศไทย ซึ่งมีเป้าหมายสำคัญเพื่อนำผู้เรียนไปสู่การคิดแก้ปัญหาและสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด 

อุปกรณ์ทดแทน เรื่องการแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ ครู, นักเรียน, บทความ, บุคคลทั่วไป

ในการทดลองแยกสารละลายด้วยกระแสไฟฟ้า บางครั้งอาจหาอุปกรณ์ในการทดลองได้ยาก เช่น หลอดแก้วสามทางรูปตัวยู แต่ก็สามารถสร้างอุปกรณ์ทดแทนได้ โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด 

Active Learning : การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ ครู, บทความ, สาระน่ารู้

ครูหลายท่านคงทราบดีแล้วว่าการจีดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นอกจากครูจะจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้รับองค์ความรู้แล้ว ครูควรจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะดังนี้

บทที่ 8 แมกนีเซียม

เขียนโดย fortune เมื่อ . หัวข้อ ครู, นักเรียน, บุคคลทั่วไป, เอกสารประกอบการเรียนการสอน

    โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด (ดาวน์โหลด ครั้ง)