ข่าวและกิจกรรม

บทความ

  • ไขปริศนากับการหาหลักฐานเชิงประจักษ์

    การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์โดยให้นักเรียนทำการทดลองนั้น มีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ต้องการ ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นนำข้อมูล หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้ ซึ่งในที่นี้คือผลการทดลอง มาสร้างองค์ความรู้หรือคำอธิบายด้วยตนเอง โดยมีครูเป็น ผู้ชี้แนะ กระบวนการเหล่านี้สอดคล้องกับลักษณะสำคัญบางประการของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์นำไปใช้ในการค้นคว้า วิจัย และหาองค์ความรู้ใหม่ Read More.

หนังสือแนะนำ

  • บทที่ 8 แมกนีเซียม

        โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด (ดาวน์โหลด ครั้ง)

หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาเคมี 5 โมดูล

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ กลุ่มเป้าหมาย, ครู, นักเรียน, บุคคลทั่วไป, สื่อ, สื่อดิจิทัล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทำ หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ วิชาเคมี 5 โมดูล ใช้ได้กับ โทรศัพท์มือถือ และแทปเล็ต ทั้งในระบบ iOS และ android โดย search Read More.

ระบบครูพี่เลี้ยงกับการเพิ่มสมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ กลุ่มเป้าหมาย, ครู, บทความ, บทความวิชาการ, บุคคลทั่วไป, แหล่งเรียนรู้

การจัดการศึกษาวิทยาศาสตร์สำหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นกระบวนการไปสู่การสร้างองค์ความรู้ โดยผู้เรียนต้องมีส่วนร่วมในการเรียนทุกขั้นตอน ทำกิจกรรมที่หลากหลายทั้งที่เป็นกลุ่มและรายบุคคล โดยอาศัยแหล่งเรียนรู้ทั้งในท้องถิ่นและที่เป็นสากล (กรมวิชาการ, 2545) ทั้งนี้ผู้สอนมีบทบาทในการวางแผนการเรียนรู้ กระตุ้น แนะนำ ช่วยเหลือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอน ครูผู้สอนต้องศึกษาเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง Read More.

กิจกรรมสะเต็มศึกษาจากลายนิ้วมือ

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ ครู, บทความ, บทความวิชาการ

ในการจัดการเรียนการสอนผ่านกิจกรรมสะเต็มศึกษานั้น นอกจากการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์เข้าด้วยกันแล้ว

รอบรู้วิทย์ กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมนำมาใช้ในห้องเรียนได้หรือไม่

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ ครู, บทความ, สาระน่ารู้

เมื่อกล่าวถึง สะเต็มศึกษา (STEM Education) หลายคนคงทราบว่าเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีการบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรม (Engineering) และคณิตศาสตร์(Mathematics) แต่หลายคนอาจสงสัยว่า ความรู้ทางด้านวิศวกรรมจะนำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างไร โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด