ข่าวและกิจกรรม

บทความ

  • ไขปริศนากับการหาหลักฐานเชิงประจักษ์

    การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์โดยให้นักเรียนทำการทดลองนั้น มีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ ต้องการ ให้นักเรียนรวบรวมข้อมูลหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ โดยผ่านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากนั้นนำข้อมูล หรือหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้ ซึ่งในที่นี้คือผลการทดลอง มาสร้างองค์ความรู้หรือคำอธิบายด้วยตนเอง โดยมีครูเป็น ผู้ชี้แนะ กระบวนการเหล่านี้สอดคล้องกับลักษณะสำคัญบางประการของการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตร์นำไปใช้ในการค้นคว้า วิจัย และหาองค์ความรู้ใหม่ Read More.

หนังสือแนะนำ

  • บทที่ 8 แมกนีเซียม

        โดยสามารถดาวน์โหลดบทความได้โดยคลิกปุ่มดาวน์โหลด (ดาวน์โหลด ครั้ง)

ปันความรู้…สู่ครูลาว

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ กลุ่มเป้าหมาย, บทความ, บุคคลทั่วไป

โลกยุคปัจจุบันเป็นสังคมไร้พรมแดนที่ผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้อย่างง่ายดายและสะดวกมาก ซึ่งความเจริญนี้ส่งผลให้การเรียนรู้ต่าง ๆ มิได้เกิดขึ้นเฉพาะแต่ในโรงเรียนหรือในภูมิภาคเท่านั้น แต่สามารถเกิดขึ้นได้ นอกประเทศด้วย ในช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมาผู้เขียนและคณะได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้กับคณะครูจากประเทศลาว ตามโครงการพระราชทานความช่วยเหลือด้านการปฏิบัติการทดลองวิทยาศาสตร์แก่โรงเรียนวัฒนธรรมชนเผ่าเด็กกำพร้า แขวงเวียงจันทน์ (หลัก 67) ซึ่งเป็นโครงการที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ Read More.

SWH การเขียนทางวิทยาศาสตร์

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ กลุ่มเป้าหมาย, ครู, นักเรียน, บทความ, บทความวิชาการ, บุคคลทั่วไป, สาระน่ารู้, แหล่งเรียนรู้

วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะเกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคนทำให้ได้พัฒนาวิธีคิด กระบวนการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล การมีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยเลือกใช้ข้อมูลที่หลากหลายได้อย่างถูกต้องตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ ดังนั้นการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จึงจำเป็นต้องเน้นให้ผู้เรียนรู้จักกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง อธิบายความคิดรวบยอดหรือแนวคิดหลัก ซึ่งสอดคล้องกับหลักการ กฎ ทฤษฎี ข้อสรุป หรือ Read More.

กฎของบอยล์…ในชีวิตจริง

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ Uncategorized, กลุ่มเป้าหมาย, ครู, นักเรียน, บทความ, บทความวิชาการ, บุคคลทั่วไป, มัธยมศึกษาปีที่ 4 - 6, สาระน่ารู้

เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า ทฤษฎี กฎ หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์หลาย ๆ อย่าง ได้มาจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในความพยายามที่จะอธิบายปรากฏการณ์ในธรรมชาติ รวมทั้งนำความรู้ที่ค้นพบเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในชีวิตจริง กฎของบอยล์ (Boyle’s law) เป็นกฎหนึ่งที่ได้มาจากการศึกษาของรอเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle) Read More.

สะเต็มศึกษากับกลิ่นหอมที่เย้ายวนใจ

เขียนโดย chemistry เมื่อ . หัวข้อ ครู, นักเรียน, บทความ, บุคคลทั่วไป, สาระน่ารู้

ผลไม้หรือดอกไม่หลายชนิดที่พบในธรรมชาติ เช่น กล้วยหอม แอปเปิ้ล ดอกมะลิ ฯลฯ ล้วนมีกลิ่นหอมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว กลิ่นหอมเหล่านี้เกิดจากเอสเทอร์ (Ester) ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ประเภทหนึ่ง ที่มีกลิ่นพิเศษเฉพาะตัวจึงนิยมนำมาสกัดทำเป็นน้ำหอมและเป็นสารปรุงแต่งกลิ่นอาหาร เอสเทอร์มีสูตรทั่วไป คือ RCOOR'